ความยาวหนัง 1 ชั่วโมง 41 นาที ภาพยนตร์สัญชาติบราซิล เมื่อต้องติดในลูปเวลาที่เป็นช่วงคริสต์มาสชั่วนิรันดร์ ชายรักครอบครัวแต่เกลียดวันหยุดเทศกาลจึงเริ่มรู้ซึ้งถึงบทเรียนล้ำค่า ว่าอะไรคือสิ่งสำคัญในชีวิต นักแสดงนำ:เลอันโดร ฮัสซุม,เอลิซา ปินเอโร,ดานีเอลเล วินิตส์
Just Another Christmas review: Netflix’s high-concept Brazilian Groundhog Day – Polygon
อย่างไรก็ตาม สิ่งที่น่าสนใจคือ นี่เป็นหนังรอมคอมที่สอดแทรกการเมืองในเรื่องของ refugee และ Brexit โดยหนังเปิดเรื่องที่ปี 1997 สมัยครอบครัวนางเอกยังอยู่ยูโกสลาเวีย แล้วตัดมาในปี 2017 ที่ลอนดอน ซึ่งก็อย่างที่หลายคนคงทราบกันอยู่แล้วว่ายูโกสลาเวียล่มสลายไปแล้ว พวกเขาจึงจำต้องลี้ภัยสงครามมาอยู่ที่นี่ และอังกฤษก็เพิ่งมีประเด็น Brexit เมื่อปี 2016 หนังจึงเลือกเล่าในปี 2017 ไม่ใช่ปี 2019-2020 หรือปีปัจจุบัน
แต่โดยส่วนตัวคิดว่า ประเด็นการเมือง อย่าง Brexit, racist, หรือ xenophobia ก็ยังไม่กลมกล่อมเข้ากับบริบทรอมคอมผสมดราม่าของชีวิตรักและปัญหาชีวิตของนางเอกสักเท่าไหร่ นางเอกแค่เปลี่ยนชื่อจาก Katarina (ที่ฟังดูโซเวียต) เป็น Kate (ที่ดูบริติชกว่ามาก) และไม่ยอมให้คนในครอบครัวเรียกชื่อโดยกำเนิดของเธอนั้นอีก ส่วนตัวละครที่ถูกเขียนให้ขยี้ประเด็น refugee ที่สุด จะเป็นตัวละครของ Emma Thompson เอง หรือบทแม่ของนางเอกนั่นเอง
ความยาวหนัง 1 ชั่วโมง 41 นาที ภาพยนตร์สัญชาติบราซิล เมื่อต้องติดในลูปเวลาที่เป็นช่วงคริสต์มาสชั่วนิรันดร์ ชายรักครอบครัวแต่เกลียดวันหยุดเทศกาลจึงเริ่มรู้ซึ้งถึงบทเรียนล้ำค่า ว่าอะไรคือสิ่งสำคัญในชีวิต นักแสดงนำ:เลอันโดร ฮัสซุม,เอลิซา ปินเอโร,ดานีเอลเล วินิตส์
Just Another Christmas review: Netflix’s high-concept Brazilian Groundhog Day – Polygon
อย่างไรก็ตาม สิ่งที่น่าสนใจคือ นี่เป็นหนังรอมคอมที่สอดแทรกการเมืองในเรื่องของ refugee และ Brexit โดยหนังเปิดเรื่องที่ปี 1997 สมัยครอบครัวนางเอกยังอยู่ยูโกสลาเวีย แล้วตัดมาในปี 2017 ที่ลอนดอน ซึ่งก็อย่างที่หลายคนคงทราบกันอยู่แล้วว่ายูโกสลาเวียล่มสลายไปแล้ว พวกเขาจึงจำต้องลี้ภัยสงครามมาอยู่ที่นี่ และอังกฤษก็เพิ่งมีประเด็น Brexit เมื่อปี 2016 หนังจึงเลือกเล่าในปี 2017 ไม่ใช่ปี 2019-2020 หรือปีปัจจุบัน
แต่โดยส่วนตัวคิดว่า ประเด็นการเมือง อย่าง Brexit, racist, หรือ xenophobia ก็ยังไม่กลมกล่อมเข้ากับบริบทรอมคอมผสมดราม่าของชีวิตรักและปัญหาชีวิตของนางเอกสักเท่าไหร่ นางเอกแค่เปลี่ยนชื่อจาก Katarina (ที่ฟังดูโซเวียต) เป็น Kate (ที่ดูบริติชกว่ามาก) และไม่ยอมให้คนในครอบครัวเรียกชื่อโดยกำเนิดของเธอนั้นอีก ส่วนตัวละครที่ถูกเขียนให้ขยี้ประเด็น refugee ที่สุด จะเป็นตัวละครของ Emma Thompson เอง หรือบทแม่ของนางเอกนั่นเอง